การติดตั้งส่วนเสริมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบ LMS
- Posted by Yuwatida Yanintorn
- Categories การจัดการความรู้, ชุมชนการบริการและความรู้
- Date June 10, 2022
- Comments 0 comment
เขียนรายละเอียด xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

Previous post
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดอบรมที่มีค่าลงทะเบียนในสำนักคอมพิวเตอร์สำหรับยุค New Normal
You may also like
ในปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ยังมีการพบจำนวนผู้ติดเชื้อต่อเนื่องในอัตราที่สูงและอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงในการเดินทางเข้ามาในพื้นที่ การเดินทางมาปฏิบัติงาน รวมถึงการประชุม สัมมนาต่าง ๆ ที่มีการร่วมกลุ่มกันจำนวนมาก ซึ่งจากสถานการณ์ดังกล่าวได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อรูปแบบการใช้ชีวิตของคนในสังคมมากมาย โดยเฉพาะ “การทำงาน” หลายองค์กรได้ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน ด้วยการอนุมัติให้มีการทำงานจากที่บ้าน หรือที่เรียกกันว่า “Work from Home” เพื่อลดความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับพนักงานอันเป็นทรัพยากรสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร จะเห็นว่าองค์กรหลายแห่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการทำงาน การประชุม การอบรม และการจัดสัมมนาต่าง ๆ ที่มีการร่วมกลุ่มคนจำนวนมากจากในที่ตั้ง (Onsite) สู่ช่องทางในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้เกิดการรักษาระยะห่างในสังคม (Social distancing) จากวิกฤติที่เกิดขึ้นทำให้ฝ่ายบริการวิชาการ ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการในการจัดอบรม ประชุม สัมมนา จากเดิมที่จัดในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนมาเป็นการอบรมแบบออนไลน์ โดยเริ่มจากการจัดอบรมออนไลน์สำหรับโครงการพัฒนาศักยภาพด้านไอซีทีสำหรับนิสิต อาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นโครงการที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนก่อน …
การตรวจสอบเอกสารในการจัดโครงการอบรมของฝ่ายบริการวิชาการ โดย นางสาวอมรรัตน์ มากบดี หัวหน้าฝ่ายบริการวิชาการ สำนักคอมพิวเตอร์ ในการดำเนินงานของฝ่ายบริการวิชาการ ภารกิจหลักที่สำคัญคือการถ่ายทอดความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่นิสิต บุคลากร และบุคคลทั่วไป ซึ่งมีการดำเนินโครงการแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านไอซีทีให้แก่นิสิตและบุคลากร โครงการบริการวิชาการ และโครงการบริการวิชาการแก่สังคมแบบให้เปล่า (USR) โดยแต่ละโครงการจะมีรูปแบบของการจัดโครงการคล้ายคลึงกัน แต่เอกสารในการดำเนินงานจะมีความแตกต่างกันบ้าง ซึ่งหัวหน้าฝ่ายจะต้องเข้าใจและสามารถตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของเอกสารที่จะต้องนำไปใช้ในการรายงานผลเมื่อจบโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเอกสารที่ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องดำเนินการแบ่งออกเป็น ๒ ช่วง ได้แก่ ก่อนการจัดโครงการ หลังการจัดโครงการ โดยแต่ละช่วง จะมีเอกสารที่หัวหน้าฝ่ายจะต้องตรวจสอบ และติดตาม มีรายละเอียดดังนี้ ก่อนการจัดโครงการ ช่วงของก่อนจัดโครงการนั้น ผู้รับผิดชอบโครงการ จะต้องดำเนินการจัดทำเอกสารต่าง ๆ ซึ่งหัวหน้าฝ่ายจะต้องตรวจสอบและติดตามการทำเอกสารต่าง ๆ …
การสร้างต้นแบบระบบ (prototype) ฉบับเร่งด่วน
Explicit Knowledge เรื่อง “การสร้างต้นแบบระบบ (prototype) ฉบับเร่งด่วน” จัดทำโดย นางสาวกิตินันท์ หุ่นดี ฝ่ายพัฒนาระบบ ที่มา/ประเด็นปัญหา ในการพัฒนาระบบเมื่อเราเก็บความต้องการของระบบเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่เราจะเริ่มต้นการพัฒนาระบบ เราควรจัดทำต้นแบบ (prototype) สำหรับนำเสนอให้ผู้ใช้งานเห็นกระบวนการและรูปแบบของการใช้งานระบบก่อน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา เมื่อผู้ใช้งานได้เห็นต้นแบบที่เราได้นำเสนอทำให้ผู้ใช้งาน คิดเงื่อนไข หรือความต้องการได้มากขึ้น และยังทำให้ผู้ใช้งานกับผู้พัฒนาระบบเข้าใจขั้นตอนการทำงานที่ตรงกัน ซึ่งการจัดทำต้นแบบนั้น อาจจะไม่ได้นำมาใช้ในการพัฒนาระบบจริงก็ได้ เนื่องจากเมื่อผู้ใช้งานเห็นหน้าจอ หรือ กระบวนการที่เราได้นำเสนอต้นแบบไปนั้น มีการแก้ไขหรือเพิ่มเติม หรือ เมื่อเราได้เริ่มพัฒนาไปแล้วผู้พัฒนาระบบเห็นว่า หน้าจอที่ได้ทำเป็นต้นแบบไว้นั้น ใช้งานยากเกินไป หรือ มีแนวทางที่จะทำให้การใช้งานง่ายขึ้น หรือ ไม่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ตามที่ออกแบบไว้ เป็นต้น ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ ดังนั้น ในการพัฒนาต้นแบบ เราไม่จำเป็นต้องพัฒนาต้นแบบให้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาระบบต่อได้ แต่เราทำเพื่อนำเสนอให้กับผู้ใช้งานได้เห็นภาพ กระบวนการทำงานที่เราจะพัฒนาระบบให้กับผู้ใช้งาน …